บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 15 เวลาเรียน 15.00 น. เวลาเข้าสอน 15.00 น. เวลาเลิกเรียน 17.30น
ความรู้ที่ได้รับ
โรงเรียนละอออุทิศ มหาวิทยาราชภัฎสวนดุสิต
ห้องเรียนห้องแรก เด็กทุกคนจะต้องเป็นเด็กพิเศษและเด็กพิการที่ผ่านการทำงานอย่างใกล้ชิด เป็นห้องเรียนแรกเริ่มที่มีเด็กบกพร่องพิเศษทางด้านร่างกาย พัฒนาการล่าช้า และห้องเรียนแรกมีการจัดกิจกรรมให้เขาและช่วยเหลือตนเองในการใช้ชิวิตประจำวันได้
5ขั้นตอน
1. การส่งต่อครอบครัวหรือผู้เชี่ยวชาญ
2.ประเมินพัฒนาตามช่วงวัย
3.การจัดวางแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลและเฉพาะครอบครัว
4.การจัดกิจกรรมพัฒนาการรอบด้าน
5.การประเมินผล
การนำไปใช้
1.ได้รู้จักการวิธีการดูแลรักษาเด็กสมาธิสั้นโดยการให้ยา แต่ยานั้นมีความปลอดภัยแก่เด็กและไม่มีผลข้างเคียงใดๆ
2.ได้รู้จักบทบาทของครูว่าครูจะต้องดูแลเด็กสมาธิสั้นให้ใกล้ชิดและควรสื่อสารกับเด็กให้ถูกต้องและไม่ควรทำโทษเด็กรุนแรง
การประเมินตนเอง
-วันนี้พร้อมที่จะเรียนมากๆค่ะ เพราะว่าเนื้อหาที่อาจารย์เอามาสอนนี้น่าสนใจในเรื่องของเด็กสมาธิสั้นและได้ชมตัวอย่างของการดูแลรักษาของเด็กสมาธิสั้นโดยมีเกมที่หลากหลาย
การประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆบางคนก็ไม่ค่อยตั้งใจเรียนและไม่ตั้งใจฟังอาจารย์พูดค่ะแต่บางคนก็ฟังและร่วมตอบคำถามในการเรียนครั้งนี้ค่ะ
การประเมินอาจารย์
-อาจารย์สอนแบบสบายๆมากค่ะไม่กดดันเลยค่ะมีการยกตัวอย่างพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้นแต่ละแบบว่ามีอย่างไรบางคนจะต้องนั่งใกล้ๆคุณครูไม่งันเด็กก็จะออกไปข้างนอกได้ต้องดูแลอย่างใกล้ชิดและดูแลเอาใจใส่และอาจารย์มีการสมมุติบทบาทให้ดูได้คล้ายๆกับเด็กและนำวิธีการดูแลและการจัดกิจกรรมของเด็กโดยการเล่นเกมที่หลายหลายหรือการพัฒนาแต่ละทักษะในโทรทัศน์มาให้ดูและเห็นได้ชัด
-วันนี้พร้อมที่จะเรียนมากๆค่ะ เพราะว่าเนื้อหาที่อาจารย์เอามาสอนนี้น่าสนใจในเรื่องของเด็กสมาธิสั้นและได้ชมตัวอย่างของการดูแลรักษาของเด็กสมาธิสั้นโดยมีเกมที่หลากหลาย
การประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆบางคนก็ไม่ค่อยตั้งใจเรียนและไม่ตั้งใจฟังอาจารย์พูดค่ะแต่บางคนก็ฟังและร่วมตอบคำถามในการเรียนครั้งนี้ค่ะ
การประเมินอาจารย์
-อาจารย์สอนแบบสบายๆมากค่ะไม่กดดันเลยค่ะมีการยกตัวอย่างพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้นแต่ละแบบว่ามีอย่างไรบางคนจะต้องนั่งใกล้ๆคุณครูไม่งันเด็กก็จะออกไปข้างนอกได้ต้องดูแลอย่างใกล้ชิดและดูแลเอาใจใส่และอาจารย์มีการสมมุติบทบาทให้ดูได้คล้ายๆกับเด็กและนำวิธีการดูแลและการจัดกิจกรรมของเด็กโดยการเล่นเกมที่หลายหลายหรือการพัฒนาแต่ละทักษะในโทรทัศน์มาให้ดูและเห็นได้ชัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น